เสด็จพ่อ ร.5 วีรบุรุษในวัฒนธรรมไทยและประชาชนในรัฐนาฏกรรม / นิธิ เอียวศรีวงศ์.

ในรัฐไทยสมัยใหม่ นาฎกรรมของรัฐนาฎกรรมไทยยังส่งสารเดิม คือระเบียบทางสังคมที่จะอำนวยดวามผาสุกแก่บ้านเมืองได้ เป็นระเบียบความสัมพันธ์ที่เคารพความสูงต่ำของคนกลุ่มต่าง ๆ ในสังคม นาฏกรรมของรัฐที่ประชาชนเข้ามามีบทบาทร่วมด้วย คือเรื่องราวของบุญญาบารมี ของอำนาจ สิทธิและทรัพย์ที่ไม่เท่าเทียมกัน หากระเบียบนี้ถูกทำลายลง ก็จะเกิดความปั่นป่วนวุ่นวาย และกลียุคในสังคม นาฏกรรมตอกย้ำสารดังกล่าว สร้างโลกภายนอกที่ซึมเข้าไปสู่โลกภายในของคนไทย แม้ว่าโลกที่เป็นจริงได้เปลี่ยนไปแล้วสักเพียงไรก็ตาม... ประชาชนในรัฐนาฏกรรม" นิธิชี้ให้เห็นว่าการแย่งชิงราชสมบัติอย่างนองเลือดนั้นเป็นหนึ่งในกลไกในการคัดสรรผู้ปกครองของรัฐไทยในสมัยโบราณ จนมาถึงยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ชนชั้นนำเรียนรู้ที่จะไม่ฆ่ากันเองอีกต่อไป เพราะราดาที่ต้องจ่ายนั้นสูงเกินไปซึ่งแบบแผนเช่นนี้ยังคงปรากฏในหมู่ชนชั้นนำไทยหลังการปฏิวัติ 2475 ด้วยอย่างไรก็ดี แม้ว่าชนชั้นนำจะค่อย ๆ ลดการใช้ความรุนแรงต่อกันเพื่อขึ้นสู่อำนาจ แต่การใช้ความรุนแรงต่อประชาชนกลุ่มต่าง ๆ เพื่อรักษาอำนาจของตนนั้นยังปรากฏให้เห็นต่อเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน

Call No. : JQ1745 .น63ส 2567
Publisher : มติชน
Published Date :
Page : (22), 226 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
Rating :
Barcode Item Type Status Reservation/Shelf
PB004513 book During Categorization  Login 

MARC Information

020 a : ISBN 
9789740218937 
050 a : เลขหมู่ 
100 a : ชื่อผู้แต่ง 
245 a : ชื่อเรื่อง 
เสด็จพ่อ ร.5 วีรบุรุษในวัฒนธรรมไทยและประชาชนในรัฐนาฏกรรม / นิธิ เอียวศรีวงศ์. 
250 a : พิมพ์ครั้งที่ 
พิมพ์ครั้งที่ 1 
260 a : สถานที่พิมพ์ 
กรุงเทพฯ 
260 b : ชื่อสำนักพิมพ์ 
มติชน 
260 c : ปีที่พิมพ์ 
2567 
300 a : จำนวนหน้า 
(22), 226 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม. 
520 a : สาระสังเขป 
ในรัฐไทยสมัยใหม่ นาฎกรรมของรัฐนาฎกรรมไทยยังส่งสารเดิม คือระเบียบทางสังคมที่จะอำนวยดวามผาสุกแก่บ้านเมืองได้ เป็นระเบียบความสัมพันธ์ที่เคารพความสูงต่ำของคนกลุ่มต่าง ๆ ในสังคม นาฏกรรมของรัฐที่ประชาชนเข้ามามีบทบาทร่วมด้วย คือเรื่องราวของบุญญาบารมี ของอำนาจ สิทธิและทรัพย์ที่ไม่เท่าเทียมกัน หากระเบียบนี้ถูกทำลายลง ก็จะเกิดความปั่นป่วนวุ่นวาย และกลียุคในสังคม นาฏกรรมตอกย้ำสารดังกล่าว สร้างโลกภายนอกที่ซึมเข้าไปสู่โลกภายในของคนไทย แม้ว่าโลกที่เป็นจริงได้เปลี่ยนไปแล้วสักเพียงไรก็ตาม... ประชาชนในรัฐนาฏกรรม" นิธิชี้ให้เห็นว่าการแย่งชิงราชสมบัติอย่างนองเลือดนั้นเป็นหนึ่งในกลไกในการคัดสรรผู้ปกครองของรัฐไทยในสมัยโบราณ จนมาถึงยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ชนชั้นนำเรียนรู้ที่จะไม่ฆ่ากันเองอีกต่อไป เพราะราดาที่ต้องจ่ายนั้นสูงเกินไปซึ่งแบบแผนเช่นนี้ยังคงปรากฏในหมู่ชนชั้นนำไทยหลังการปฏิวัติ 2475 ด้วยอย่างไรก็ดี แม้ว่าชนชั้นนำจะค่อย ๆ ลดการใช้ความรุนแรงต่อกันเพื่อขึ้นสู่อำนาจ แต่การใช้ความรุนแรงต่อประชาชนกลุ่มต่าง ๆ เพื่อรักษาอำนาจของตนนั้นยังปรากฏให้เห็นต่อเนื่องมาจวบจนปัจจุบัน 
650 a : หัวเรื่อง 
651 a : หัวเรื่อง 
ไทย -- การเมืองและการปกครอง. 

No Reviews

  1. There is no review yet, why not be the first one?.

This website uses cookies

We use cookies to optimize performance. and good experience in using the website If you continue to use this website By accepting the terms and conditions and privacy policy

Accept Cookie Policy